รูปที่ 1 พื้นที่การดำเนินงานโครงการ แนวเส้นทางระบบขนส่งมวลชนขอนแก่น (สายเหนือ-ใต้)
กิจกรรมที่วางแผนดำเนินการ
- Digitized รูปแปลงที่ดิน ในเขตพื้นที่ 15×3 ตร.กม. จากข้อมูลแผนที่ภาษี
- สร้างหมุดควบคุมสำหรับรองรับงานก่อสร้าง จำนวน 10 คู่ โดยดำเนินการรังวัดพิกัดหมุดควบคุมดังนี้
- พิกัดทางราบ ด้วยวิธี Static GPS โดยโยงยึดเข้ากับหมุดหลักฐานของกรมแผนที่ทหาร และของกระทรวงเกษตรฯ
- พิกัดทางดิ่ง ด้วยวิธี Differential Leveling เกณฑ์งานชั้น 3 ตามมาตรฐาน FGDC 1984
- รังวัดหมุดบังคับภาพและหมุดตรวจสอบ สำหรับงานข่ายสามเหลี่ยมทางอากาศเพื่อใช้ในงาน UAV โดยใช้เทคนิค RTK GPS หรือดีกว่า (Rapid Static) จำนวน 400 หมุด
- รังวัดจัดทำแผนที่มาตราส่วน 1: 1000 พร้อมด้วยค่า Contour Interval 50 cm เพื่อการออกแบบก่อสร้าง โดยใช้งานรังวัดสำรวจภูมิประเทศ รวมกับ งานรังวัดด้วยภาพถ่ายจาก UAV
- งานรังวัดด้วยภาพถ่ายจาก UAV ได้ใช้เกณฑ์มาตรฐาน ASPRS 2014
- จัดระบบฐานข้อมูลภาพถ่ายออร์โธสี
- จัดทำฐานข้อมูลอาคาร เพื่อปรับปรุงข้อมูลผังเมืองในแนว 15×3 ตร.กม.
รูปที่ 1 การรังวัดพิกัดทางราบด้วย STATIC GPS
และการรังวัดพิกัดทางราบด้วย Differential Leveling โดยใช้กล้องระดับ Digital
รูปที่ 2 การบูรณาการข้อมูลรังวัดภาคพื้นดินและแผนที่ภาพถ่ายออร์โธ
จาก UAV Photogrammetry พร้อมทั้งจัดทำระบบฐานข้อมูล GIS
ตารางที่ 1 สรุปการใช้ประโยชน์ที่ดินและร้อยละของการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในเขตเมืองขอนแก่น
ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร